|
||||||||||||
|
||||||||||||
ชนิดของการเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ |
||||||||||||
![]() |
||||||||||||
เป็นการโต้ตอบของกล้ามเนื้อเมื่อกล้ามเนื้อถูกยึด ออกจะโต้ตอบโดยการหดตัวเข้ามา เช่นถ้าตัวเราเอียงหรือ ล้มลง กล้ามเนื้อหลายกลุ่มจะถูกยืดออก กล้ามเนื้อจะเกิด การเคลื่อนไหวแบบรีเฟล็กซ์ขึ้น โดยหดตัวต่อต้านการยืดเพื่อ ป้องกันไม่ให้เราล้มลงไป |
||||||||||||
ตัวอย่างของสเตรชรีเฟล็กซ์ โดยการทำนีเจอร์ก (knee - jerk) โดยห้อยขาอยู่ในท่าพัก แล้วเคาะ ที่เอ็นซึ่งอยู่ต่ำกว่าสะบ้าหัวเข่าเล็กน้อย ขาจะเตะออกไปข้างหน้า การเคาะจะทำให้โพรพริโอเซพเตอร์ถูกกระ ตุ้น ในลักษณะเดียวกับการที่กล้ามเนื้อถูกยืดและจะส่งแรงกระตุ้นไปตามเส้นประสาทเข้าไปในไขสันหลัง ซึ่งจะส่งกระแสประสาทกลับมากระตุ้นกล้ามเนื้ออีกต่อหนึ่ง |
||||||||||||
![]() |
||||||||||||
![]() |
หรือป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดความเจ็บปวดขึ้น เช่นเมื่อมือไปถูก ของร้อนโดยไม่ตั้งใจ เราจะสะบัดมือหนีออกไปทันที หรือเวลา เดินเหยียบหนามเข้าเราจะยกเท้าหนี การเคลื่อนไหวต้อง อาศัยกลุ่มกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการงอ และค่อนข้าง ซับซ้อน เพราะมีกล้ามเนื้อหลายกลุ่มเข้ามาเกี่ยวข้อง อวัยวะรับ ความรู้สึกของการเคลื่อนไหวแบบนี้เรียกว่า โนซิเซพเตอร์ (nociceptor) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อประสาทพิเศษที่ไวต่อการกระตุ้นมาก |
|||||||||||
![]() |
||||||||||||
เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการงอ และกลุ่มกล้ามเนื้อที่ ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเหยียด ซึ่งมีความจำเป็นต่อการพยุงร่างกาย ต่อต้านแรงโน้มถ่วงของโลก เพราะจะทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเกร็งตัว และถูกยืดให้อยู่ยิ่ง และยังทำให้การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะ |
||||||||||||
|