ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ) |
|
|
|
|
|
การแบ่งหมวดหมู่ทั้ง 20 หมวดดังกล่าว เป็นการจัดแบ่งหมวดใหญ่ในสาขาวิชาต่างๆ สำหรับ |
การแบ่งย่อยหมวดใหญ่ จะใช้อักษร 2 ตัว หรือ 3 ตัว ตัวอย่าง เช่น |
|
|
|
P |
ภาษาและวรรณคดี |
P-PA |
ภาษาศาสตร์ทั่วไปและการศึกษาต่างประเทศ ภาษาและวรรณคดีคลาสิก |
PA |
ภาคผนวก วรรณคดีไบแซนไทน์ วรรณคดีกรีกสมัยใหม่ วรรณคดีละติน |
|
สมัยกลางและสมัยใหม่ |
PB-PH |
ภาษายุโรปสมัยใหม่ |
PG |
วรรณคดีรัสเซีย |
PJ-PM |
ภาษาและวรรณคดีเอเชีย แอฟริกา หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก |
|
อเมริกันอินเดียม |
P-PM |
ภาคผนวก ดรรชนีภาษาและภาษาถิ่น |
PN,PR,PS,PZ |
วรรณคดีทั่วไป วรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน นวนิยาย ภาคภาษาอังกฤษ |
|
วรรณกรรมสำหรับเด็ก |
PQ ตอนที่ 1 |
วรรณคดีฝรั่งเศส |
PQ ตอนที่ 2 |
วรรณคดีอิตาลี สเปน และโปรตุเกส |
PT ตอนที่ 1 |
วรรณคดีเยอรมัน |
PT ตอนที่ 2 |
วรรณคดีเนเธอร์แลนด์ และสแกนดิเนเวีย |
|
|
|
|
|
|
นอกจากนี้ ยังมีการนำเสนอเลขอารบิกตั้งแต่ 1-999 มาใช้ในการแบ่งย่อยเลขหมู่ ในบางหมู่ |
ตัวอย่างเช่น |
|
|
|
PN 1 |
วารสารสากล |
PN 2 |
วารสารอเมริกัน และอังกฤษ |
PN 86 |
ประวัติการวิจารณ์ |
|
|
|
|
|
|
ส่วนการแสดงรายละเอียดหมวดเรื่องมีการใช้จุดคั่นและตามด้วยตัวอักษรและตัวเลข ตัวอย่างเช่น |
|
|
|
TX |
คหกรรมศาสตร์ |
TX 361 |
อาหารและโภชนาการของเฉพาะกลุ่มคน |
TX 361.A3 |
อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ |
TX 361.C5 |
อาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก |
|
|
|
|
|
|
แม้ว่าในระบบการจัดหมู่หนังสือจะใช้สำหรับการกำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหาของหนังสือในแต่ละ |
เล่ม แต่ผู้ใช้ไม่มีความจำเป็นที่จะจดจำสัญลักษณ์ดังกล่าว เพราะแหล่งสารสนเทศทุกแห่งจะจัดทำป้ายสัญลักษณ์ติด |
ไว้ที่ชั้นหนังสือพร้อมให้รายละเอียดอย่างสังเขปเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคู่กับป้ายสัญลักษณ์เหล่านี้ให้ผู้ใช้ได้ทราบ |
|
|
|
|
|
1.3 เลขเรียกหนังสือ (call number) คือ สัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นสำหรับหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง |
รายละเอียด ในเลขเรียกหนังสือประกอบด้วยสัญลักษณ์ตามระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ เช่น ระบบทศนิยมดิวอี้ |
ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ซึ่งเป็นส่วนของเลขหมู่ (classification) และส่วนที่เป็นเลขหนังสือ (book number) |
หรืออาจมีสัญลักษณ์อื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อระบุสัญลักษณ์ของหนังสือ เช่น |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|