คำอธิบาย

  ระดับที่  1  : พืชหรือผู้ผลิตใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์และแร่ธาตุต่าง ๆ มาผลิต
เป็นส่วนต่าง ๆ เป็นพืช
  ระดับที่  2  : ผู้บริโภคขั้นต้น เช่น หนอนหรือแมลงกัดกินพืช
ระดับที่  3  : ผู้บริโภคขั้นที่ 2 เช่น สัตว์ที่กินแมลง หรือหนอนเป็นอาหาร
  ระดับที่  4  : ผู้บริโภคขั้นที่  3  เช่น มนุษย์กินสัตว์เป็นอาหาร
  ระดับที่  5  : ผู้ย่อยสลายจะย่อยสลายซากและของเสียจากผู้ผลิตและผู้บริโภค
ทุกระดับแล้วส่งพลังงานกลับไปสู่ผู้ผลิตวนเป็นวัฎจักร
  ห่วงโซ่อาหารในธรรมชาติมี  2  ประเภท คือ
1.
ห่วงโซ่อาหารที่มีการกินโดยตรง (Grazing Food  Chain)  เริ่มจากพืช
สีเขียวถูกสัตว์กินพืชกิน แล้วสัตว์กินสัตว์มากินสัตว์กินพืชอีกทอดหนึ่ง
2.
ห่วงโซ่อาหารของการสลายอินทรีย์ (Detritus  Food  Chain)  เริ่มจาก
ซากอินทรีย์ถูกจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว จึงถูกสัตว์กินซากพืชที่ถูกย่อยแล้วและสัตว์
์ดังกล่าวก็เป็นอาหารของสัตว์อื่น
  การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในลักษณะของห่วงโซ่อาหารอาจไม่เป็นไป
ตามลำดับได้เพราะสิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการกินอาหารหลาย ๆ ชนิด หลาย ๆ ระดับ
เหยื่อชนิดเดียวกันอาจถูกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดกินซึ่งเรียกว่า “ข่ายใยอาหาร
(Food  Web) เป็น
 
 
   
 
 
 
 
 
 
 
       

 

2.1
  ความหมายของนิเวศวิทยา
2.2
  ขอบข่ายของนิเวศวิทยา
2.3
  คำศัพท์ในระบบนิเวศ
2.4
  องค์ประกอบของระบบนิเวศ
2.5
  ปัจจัยที่กำหนดลักษณะ
  ของระบบนิเวศ
2.6
  ความสัมพันธ์ของนิเวศวิทยา
    กับสุขภาพสิ่งแวดล้อม
2.7
  ประโยชน์ของการรักษาระบบนิเวศ
2.8
  การสูญเสียความสมดุลย์ระบบนิเวศ
2.9
  การรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
     
 
             
         
ก่อนหน้า